วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่15
ประจำวันที่1 พฤษภาคม 2558

สรุปการเรียนรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

     จากการเรียนในรายวิชานี้ ทำให้สามารถมีเข้าใจรูปแบบการเรียนการสอนพื้นฐานในการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กและนำความรู้จากการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์จากตัวอย่างการสอนของอาจารย์มาเป็นแนวในการสอนและพัฒนาประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย

ความรู้ที่ได้รับ

จากจัดประสบการณ์ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
    สาระที่1จำนวนและการดำเนินการ
    สาระที่2การวัด
    สาระที่3เรขาคณิต
    สาระที่4พีชคณิต
    สาระที่5การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
    สาระที่6ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
การทำบล็อกและการนำเสนองาน
การค้นหาวิจัย บทความ กิจกรรม และโทรทัศน์ครู
การเขียนแผนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
การนำเสนองานในรูปแบบต่างๆ
ความหมายเกี่ยวกับพัฒนาการเรียนรู้เรียนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

เทคนิค

   การนำเสนองาน
   การเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียน
   การใช้คำถาม
   การทำกิจกรรมในห้องเรียน

ทักษะ

     การนำเสนองาน
     การสร้างงานในบล็อก
     การอภิปรายเนื้อหา การซักถาม
     การสรุปองค์ความรู้
     กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
     การทำงานกลุ่ม

คุณธรรมจริยธรรม

   การแต่งกาย
   การมาเรียน
   การมีมารยาทในการนั่ง
   การมีความรับผิดชอบ
   การมีความช่วยเหลือ และแบ่งปัน
   การเคารพกติกาในการเรียน

วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 14
วันศุกร์ ที่ 1 พฤษภาคม 2558

เนื้อหาการเรียนรู้

   กระบวนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
   สาระที่ควรเรียนรู้
      - ตัวเด็ก
      - บุคคลรวมตัวเด็ก
      - ธรรมชาติรอบตัวเด็ก
      - สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
   ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์

วิธีการสอน

    การใช้คำถามเชื่อมโยงเนื้อหา
    การใช้ Power Point

ทักษะที่ได้รับ

    เทคนิคการเขียนแผน
    การเลือกหน่วยในการเขียนแผน

การประยุกต์ใช้

     การเขียนแผน
     การนำเสนองาน

บรรยากาศในห้องเรียน 

      มีสื่อพร้อม เย็นสบาย แสงพร้อมในการเรียน

การประเมินผล

ตนเอง ได้รับรู้การใช้หลักในการเลือกเขียน ร่วมมือตอบคำถามกับเพื่อน
เพื่อน   มีการร่วมตอบคำถามกับเพื่อน การฟังการเสนองานของเพื่อน
อาจารย์ ให้คำแนะนำในการนำเสนอ การทำงาน การเลือกหน่วยเพื่อเขียนแผน
   

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 13
วันพุธที่ 28 เมษายน 2558

เนื้อหาที่เรียนรู้

    สรุปประเด็นการเรียนรู้
          - พัฒนาการ
          - สาระคณิตศาสตร์ตามกรอบมาตรฐาน
          - รูปแบบการบูรณาการ
          - ขั้นตอนการจัดประสบการณ์

วิธีการสอน


       ให้คำถามในการเป็นแบบทอสอบความรู้

ทักษะที่ได้รับ


        รู้ถึงความหมายและหน่วยย่อย และสามารถจดจำและใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัย

การประยุกต์ใช้ 


      การนำไปจัดกิจกรรมเป็นสื่อการเรียนการสอนได้ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้

บรรยากาศในห้องเรียน


    มีสื่อพร้อมในการเรียนการสอน มีแสงเพียงพอ สบาย

การประเมินผล


ตนเอง : มีความรู้การเรียนที่เข้าใจง่าย ได้ค้นหาคำตอบด้วยตนเอง
เพื่อน :  มีการให้ความร่วมมือในการเรียนการสอน
อาจารย์ : มีการใช้สื่อ ใช้คำถามเป็นหลักเพื่อการต่อยอดความรู้จากความรู้เดิม


บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 12
วันพุธ ที่ 23 เมษายน 2558

เนิ้อหาการเรียนรู้

   นักศึกษาฝึกการสอนที่ได้เขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์

วิธีการสอน

 ให้นักศึกษาฝึกการสอนที่ได้เขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์

ทักษะที่ได้รับ

     - การวางแผนการเขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กสำหรับปฐมวัย
     - การสอนตามแผนที่ได้ร่วมเขียนแผนประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การประยุกต์ใช้

บรรยากาศในห้องเรียน

    โล่ง โปล่ง ลมเย็น สื่ออาจจะไม่พร้อมแต่ก็สามารถสอนได้เป็นอย่างดี

การประเมินผล

ตนเอง : ร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อน มีการฟังการสอนของเพื่อนเพื่อเป็นตัวอย่าง กล้าแสดงออก
เพื่อน : มีการเสนอรูปแบบการสอนที่ดี กล้าแสดงออก
อาจารย์ : มีการให้คำแนะนำ การคำปรับปรุง สำหรับการเปลี่ยนแปลงในการสอนในรูปแบบครั้งต่อไป

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11วันพุธ ที่8 เมษายน 2558

เนื้อหาการเรียนรู้

      - ศึกษาสาระที่ควรเรียนรู้
      - วิเคราะห์เนื้อหา
      - ศึกษาประสบการณ์จริง
      - บูรณาการคณิตศาสตร์
      - ออกแบบกิจกรรม
  หลักในการสร้างหน่วยการเรียนรู้
     - เรื่องใกล้ตัว
     - เรื่องที่มีผลต่อตัวเด็ก

วิธีการสอน

กิจกรรมตัวอย่าง
      - รูปสัตว์
      - จำนวนสัตว์
      ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อในการสอน
       มีกิจกรรมสรอจแทรกให้หน้าสนใจ
   กิจกรรม 
       นักศึกษาสร้าง Mind Mapping
       นักศึกษาช่วยกันเขียนแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์

ทักษะที่ได้รับ

   การวางแผนสร้าง Mind Mapping รวมกัน
   การเชื่อมโยง Mind Mapping ให้เข้ากับแผนการสอน

การประยุกต์ใช้

        การสร้างแผนการเรียนการสอนโดยใช้เรื่องที่ใกล้ตัว  เด็กรับประสบการณ์อย่างแท้จริง และการวางแผนจากการสร้าง Mind Mapping

บรรยากาศในห้องเรียน

        เย็นสะบาย มีแสงเหมาะกับการเรียนรู้ มีสื่อที่พอใช้งานได้ อาจจะติดขัดบ้าง แต่ก็สามารถเป็นสื่อใช้ใกเรียนได้

ประเมินผล

ตนเอง : เข้าใจในการเรียน การสร้างแผนการสอน แต่มีเพลอพักสายตาไปบ้าง
เพื่อน : มีการรวมกันวางแผนที่ดี มีการระดมความคิดร่วมกัน ช่วยเหลือกันดี
อาจารย์ : มีการแนะนำ และยกตัวอย่างการเขียน และใช้สื่อที่เข้าใจง่าย

วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
วันพุธที่ 25 มีนาคม 2558

เนื้อหา

รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบต่างๆดังต่อไปนี้
   -รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ
   -รูปแบบการจัดประสบการณื แบบโครงการ
   -รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบสมองเป็นฐาน
   - รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบ STEM
   - รูปแบบการจักประสบการณ์แบบมอนเตสซอรี่
   - รูปแบบการจัดประสบการณ์ แบบเดินเรื่อง
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
   - สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
   - สาระที่ 2 การวัด
   - สาระที่ 3 เรขาคณิต
   -สาระที่ 4 พีชคณิต
   -สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
   - สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์

วิธีการสอน

-เลขที่ 25 นำเสนอโทรทัศน์ครู
   เรื่อง การสร้างพื้นฐานการใช่ประสาทสัมพัทธ์ทั้ง 5
- เลขที่ 26 นำเสนอโทรทัศน์ครู
   เรื่อง การสอนคณิตศาสตร์
-เลขที่ 2 นำเสนอบทความ
   เรื่อง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-กิจกรรมต่อไม้กับดินน้ำมันเป็นรูปต่างๆ
-นำเสนองานกลุ่ม (รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบต่างๆ)

ทักษะที่ได้รับ

   -การคิดอย่างสร้างสรรค์ มีจิตนาการ
   -การสอนในรูปแบบต่างๆ
   -การพัฒนาความพร้อมของสมองและสธิปัญญาของเด็ก
   -การดัดแปลงเพลง นิทาน และปรินาคำทาย

การประยุกต์ใช้

   -นำตัวอย่างเทคนิดการสอนในรูปแบบต่างมาเป็นหลักและข้อยึดเหนี่ยวในการสอน และทดลองความน่าจะเป็นไปได้ว่าสามารถกระทำแล้วเกิดผลดีกับตัวเด็กจริงๆ นำความรู้จากการรู้จักดัดแปลงมาปรับใช้

บรรยายกาศในห้องเรียน

  -เป็นระเบียบเรียบร้อย มีแสงพอเหมาะ  มีความสื่อที่น่าสนใจเป็นอย่างดี

ประเมิน

ตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ สนใจเรียนดี มีความสนุกสนาน ในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
เพื่อน : สนใจเรียนดี แต่งกายถูกระเบียบเป็นส่วนมาก
อาจารย์ : มีการอธิบาย บรรยายรูปแบบการสอนได้เข้าใจง่าย
             แนะนำเทคนิคการนำเสนองานที่น่าสนใจมาก

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
วันพุธที่ 18 มีนาคม 2558

เนื้อหา

    -แบ่งกลุ่ม มอบหมายงาน กลุ่มละ 3 คน ให้ดัดแปลง เพลง นิทาน และปริศนาคำทาย
     เพื่อมานำเสนอ ในอาทิตย์ต่อไป จากสาระการเรีนรรู้คณิตศาสตร์ดังนี้
        สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
        สาระที่ 2 การวัด
        สาระที่ 3 เรขาคณิต
        สาระที่ 4 พีชคณิต
        สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
        สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

วิธีการสอน

    -เลขที่ 24 นำเสนองานวิจัย
    -เลขที่ 1 นำเสนอบทความเรื่อง เทคนิคเลขอนุบาล
    -เลขที่ 3 นำเสนอบทความเรื่อง เสริมการเรียนเลขในวัยอนุบาล

ทักษะที่ได้รับ

    -การถามตอบ
    -การดัดแปลงเพลง
    -การจิตนาการ
    -การใช้ภาษา
    -การประยุกต์ใช้
    -การนำเทคนิคจากบทความมาทดลองสอนกับเด็ก
    -การดัดแปลงให้เข้ากับสื่อและเนื้อหาในการเรียนการสอน
    -การดัดแปลงเพลง นิทาน และคำคล้องจอง มาปรับเปลี่ยนในเข้ากับเนื้อหาที่จะทำการสอน

บรรยากาศในห้องเรียน

   - มีความสนใจในเนื้อหาในการสอนอญุ่ในระดับที่ดี แต่เพื่อนๆมาเรียนน้อย

ประเมิน

ตนเอง : ตั้งใจเรียนดี สนใจในเนื้อที่อาจารย์ได้สอน มีความสนุกในการร้องเพลง
เพื่อน : มีความสนใจเรียนดี แต่งกายถูกระเบียบเป็นส่วนใหญ่
อาจารย์ : มีเทคนิคการที่ดีเข้าใจง่าย มีการอธิบายที่ดี เข้าถึงเนื้อได้อย่างเหมาะสม

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วันพุธ ที่ 11 มีนาคม 2558

เนื้อหา

     -ให้ทำกิจกรรมติดชื่อการมาโรงเรียนของนักเรียนโดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม
     -สาระที่6 ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์

นำเสนอบทความ

    -เลขที่21 นำเสนอบทความเรื่อง การสอนคณิตศาสตร์จากชีวิตรอบตัว
     ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์แก่ตัวเด็กเอง
    -นำเสนองานรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบโครงการ และมีโทรทัศน์ครูเป็นสื่อแบบอย่างในการสอน       ให้ดูเป็นตัวอย่าง
    -มีการแบ่งกลุ่มร้องเพลง ดัดแปลงเพลง

วิธีารสอน

   -นำเอากิจกรรมที่สอดคล้องกับการใช้ชีวิตในแต่ละวันมาประยุกต์ใช้
   -มีการนำเอากิจกรรมที่กระทำอยู่ มาเป็นสื่อที่สอดคล้องกับเนื้อหาและบทเรียน
   -มีการทบทวนความรู้เดิม
   -เปิดโอกาสให้มีส่วนรวมในการตอบคำถาม และอธิบายเสริมความเข้าใจ

ทักษะ

   -ทักษะการมีส่วนร่วม ในการตอบคำถาม
   -ทักษะการร้องและดัดแปลงบทเพลง

การนำไปประยุกต์ใช้

  -การนำวิธีการสอนแบบโครงการไปทดลองหรือใช่สอน
  -การดัดแปลงเพลง ให้สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน

บรรยากาศในห้องเรียน

   -มีบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนดี มีแสงที่พอเหมาะ รื่นเริงไม่เครียด ดูตื่นเต้นตลอดเวลา

ประเมิน

ตนเอง   : เข้าใจในเนื้อหาพอสมควร มีความสนุกที่ได้ร้องเพลงร่วมกับเพื่อน 
               ได้รู้จักเทคนิคการดัดแปลงเพลง เพื่อใช่เป็นสื่อในการนำเข้าสู้เนื้อหาของบทเรียน
เพื่อน     : รื่นเริง สนุก ในการเรียน มีความสนใจในการเรียนพอสมควร
อาจารย์ : สอนเก่งค่ะ นำเข้าสู้เนื้อหาของบทเรียนได้ดี มีการใช่เทคนิคการยกตัวอย่าง
                 การอธิบายที่เข้าใจง่าย

วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7 วันพุธ ที่ 18 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2558

เนื้อหา
  รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย (Integrated Learning Management)
หมายถึง กกระบวนการจัดประสบการณ์ตามความสนใจ ความสามารถ โดยเชื่อมโยงเนิ้อหาสาระของศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสามารถนำความรู้ ทักษะ และเจตคติไปสร้างงาน แก้ปัญหา และใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วยตนเอง
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบบูรณาการ
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบโครงการ
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบสมองเป็นฐาน
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบSTEM
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบมอนเตสซอรี่
    - รูปแบบการจัดประสบการณ์  แบบเดินเรื่อง

วิธีการสอน
   -ทดสอบก่อนเรียน
   -อธิบายด้วยโปรแกรม Power Point    
   -การพูดโต้ตอบแสดงความคิดเห็น
   -การแตกความคิดในรูปแบบของ Mind Map

ทักษะที่ได้รับ
   -ทักษะการตอบคำถาม
   -ทักษะการสรุปความคิด

การประยุกต์ใช้
    -การประยุกต์เพลง
    -การนำเนื้อหามาบูรณาการด้านการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้

บรรยากาศในห้องเรียน
   - อากาศแจ่มใส เหมาะแก่การเรียน สะอาด เรียบร้อยเป็บระเบียบดี

การประเมิน
ตนเอง - มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น มีการคิดเพื่อที่จะตอบคำถามในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น กล้าที่จะตอบมากยิ่งขึ้น

เพื่อน - มีความร่วมมือในการตอบคำถามมากขึ้น มีส่วนรวมในกิจกรรมดี กล้าที่จะคิดและตอบคำถามเป็นอย่างดี

ครู - มีการสอนที่ดี มีการสนใจนักศึกษาดี กวาดสายตาไปทั่ว จัดการสอนในรูปแบบที่เข้าถึงตัวเด็กเข้าใจได้ง่ายดี

วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 6 วันพุธ ที่11 เดือนกุมภาพันธ์ 2558
เนื้อหา
      -เทคนิคการจัดประสบการณ์
        นิทาน , เพลง , เกม ,
        คำคล้องจอง , ปริศนาคำทาย ,
        บทบาทสมมุติ , แผนภูมิภาพ ,
        การประกอบอาหาร
วิธีการสอน
       - มีการตอบคำถามก่อนเรียน
       - เลขที่13-14 นำเสนองานวิจัย
       - เกมต่อกระดาษสี่เหมี่ยมเป็นรูปต่างๆ
ทักษะที่ได้รับ
        -เทคนิคการสอนเด็กปฐมวัย การดัดแปลงเพลงเพื่อมาปรับใช้ให้เข้ากับเนื้อหาและสถานการณ์
        -การใช้สถานกาณ์ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนั้น นำเข้าสู่เนื้อหาบทเรียน
        -การใช้กิจกรรมที่ดึงดูดความสนใจของเด็ก
การประยุกต์ใช้
         สามารถนำเทคนิคและประสบการณ์จากที่ดูที่อาจารณ์สอนมาเป็นตัวอย่าง และการยกตัวอย่างจากสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนั้น การดัดแปลงเพลงเพื่อใช่ในการเรียน และการใช้เกมที่เข้ากับเนื้อหาสาระ
บรรยากาศในห้องเรียน
         มีการถามตอบการสนทนาเพื่อสร้างความจำในเนื้อหาบทเรียน มีการกิจกรรมได้เข้ากับน้ำหาบทเรียน มีอุปกรณ์การเรียนที่ดี
การประเมิน
ตนเอง : รู้สึกตื่นตัวในการเรียนดี สนุกกับการทำกิจกรรม แต่งการสุภาพ และรื่นเริงกับการร้องเพลง
เพื่อน : มีการรวมกันช่วยตอบคำถามดี  แต่งกายเรียบร้อยเป็นส่วนใหญ่ มีความสนุกกับการทำกิจกรรม
ครู : แต่งกายสุภาพ ใช้กิจกรรมในการเรียนที่สนุกสนาน พูดให้เด็กได้คิดและหาคำตอบเอง มีการยกตัวอย่างได้ดี

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่5วันพุธ ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558
เนื้อหา
   -สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
   -สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฎิบัติในห้องเรียน
วิธีการสอน
   -ตอบคำถามก่อนเรียน
   -เลขที่10-12 นำเสนอบทความ
   -นำเข้าสู่เนื้อหาบทเรียน  สอนแบบเข้าใจ จำได้ เน้นการถามตอบจากความคิดในตัวเด็ก
ทักษะที่ได้รับ
   -เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการนับจำนวนในชีวิตจริง
   -มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์
   -มีความรู้ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
การประยุกต์ใช้
   -การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเพื่อเตรียมความพร้อมทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา
   -เทคนิคการสอนทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บรรยากาศในห้องเรียน
   -รื่นเริง เบิกบาน  มีการสนทนาอย่างสนุกสนาน พร้อมกับเสียงหัวเราะ มีการร้องเพลงรวมกัน
การประเมิน
ตนเอง : เพลิดเพลินในการร้องเพลง  เข้าใจถึงการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เพื่อน : สนุก ดูไม่เครียด มีการสนทนาเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน
อาจารย์ : ดูมีเทคนิคการสอนที่ดี สอนและอธิบายได้อย่างเข้าใจ สอนเก่ง ไม่เครียด 


วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่4
วันพุธที่ 28 มกราคม 2558
เนื้อหา
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางสติปัญญา
เด็กปฐมวัยกับวิธีการเรียน
   -การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า     
 การสังเกต 
   -การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันในการเรียนรู้
   -โดยเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์ โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างมีเหตุผล
  การจำแนกประเภท
   -การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการแบ่งขึ้น
   -เกณฑ์การจำแนก คือ ความเหมือน ความแตกต่างและความสัมพันธ์
  การเปรียบเทียบ
   -เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป
   -เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆ และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้
  การจัดลำดับ
   -เป็นลำดับการเปรียบเทียบขั้นสูง
   -การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
 การวัด
   -มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
   -การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
      (การวัดของเด็กปฐมวัยไม่ใช้หน่วยมาตรฐานในการวัด)
 การนับ
   -เด็กชอบการนับเป็นการท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
   -การนับแบบท่องจำนี่จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงฆ์บางอย่าง
    รูปทรงและขนาด
  -เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจะเข้าโรงเรียน
วิธีการสอน 
   - บอกให้เห็นถึงการใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 
   - ตอบคำถามก่อนการเรียน
   - เลขที่7-9 นำเสนอโทรทัศน์ครู
   - อธิบายคำถามที่ถามไปตั้งแต่ก่อนการเรียน
   -การร้องเพลง การแปลงเพลง
ทักษะที่ได้รับ 
     -ได้รู้จักคำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
     -ได้รู้แนววิธีการเรียนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     - ได้รู้ปัจจัยสำคัญของการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้
     - ใช้เป็นหลัก หรือแนวในการสอน
     - นำประสบการณ์การจากการเรียนมารับใช้ในการเรียน
     - นำวิธีที่อาจารย์สอบไปปรับใช้สอนเด็ก
บรรยากาศในการเรียน
     สนุก รื่นเริง มีการโต้ตอบ คำถามคำตอบ มีการอธิบายที่เข้าใจได้ดี
การประเมินผล
      ตนเอง  :    เข้าใจในการอธิบายแต่ละหัวข้อ สนุกกับการเรียน ไม่เครียด
      เพื่อน  :   มีความสนุกในการเรียน ร่าเริง มีการตอบคำถามที่ช่วยกันคิด
      อาจารย์  : สุภาพ เรียบร้อย  สอนและอธิบายเข้าใจง่าย สอนเก่ง

วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558


โทรทัศน์ครู
  อาจารย์ สมบูรณ์  สุทธิชื่น
  โรงเรียนอนุบาลบางกรวย
แนวการสอน คือ ทำยังไงให้เด็กรักคณิตศาสตร์?
                 :  บอกกับเด็กว่า ถ้าหนูรักคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ก็จะรักหนูนะ
กิจกรรมด้านการเรียน
     -เน้นความหลากหลาย (ไม่ยึดหลักการใดเป็นหลัก)                                                                                        คือ การเลือกเทคนิคให้เหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้ วัยของนักเรียนและเวลา
     -ฝึกปฏิบัติ
         คือ การกล้าที่จะตอบหรือทำงานด้วยตัวนักเรียนเองและทำงานร่วมกับเพื่อน
วิธีการสอน
      การร้องเพลง อาศัยเพลงสั้นๆ ง่ายๆ เอาทำนองมาดัดแปลงเป็นเนื้อหาสำหรับตัวเลขในการเรียน
      การถามตอบเนื้อหาในเนื้อเพลง
      การแต่งโจทย์ปัญหา หรือการเรียงคำที่ำหนดให้มาแต่งโจทย์ปัญหาให้สมบูรณ์
      การเล่นเกม ใช้การแข่งขัน
           -แบบคนเดียว ทำให้เกิดความมั่นใจในตัวเอง
           -แบบกลุ่ม ทำให้เกิดกระบวนการกลุ่ม
การเสริมแรง
      การใช้คำชม ช่วยสร้างความมั่นใจให้ตัวเด็ก เกิดความอึกเหิม กล้าที่จะกระทำ หรือแสดงออกไป

ที่มา
      ttps://www.youtube.com/watch?v=W_HURxqjGes


วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558

งานวิจัย

งานวิจัย

เรื่อง การสร้างชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ชื่อผู้วิจัย : นายปริญญา อุบลกาญจน์
ภาควิชา  :  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ.2553
บทที่1   ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย
        เด็กปฐมวัยเป็นวันแห่งธรรมชาติของการเรียนรู้ เด็กสามารถสังเกตและสะสมประสบการณ์การเรียนรู้        ด้วยตนเองโดยการได้สัมผัสจาการเล่นซึ่งถือว่าเป็นการทำงานของเด็ก
      วัตถุประสงค์
           เพื่อสร้างชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น
      ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
      ตัวแปรต้น :   คือ ชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์
      ตัวแปรตาม  :  คือ คุณภาพ ของชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทาง                                            คณิตศาสตร์ เป็นต้น
       วิธีการดำเนินการศึกษา 
           ประชากรที่ใช่ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชาย หญิง ที่มีอายุ 5-6 ปี ศึกษาอยู่ในระดับปฐมวัย                โรงเรียนไทยรัฐวิทยา จำนวน 40 คน
บทที่2  ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
        หลักการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
    กิจกรรมที่จัดความคำนึงถึงเด็กเป็นสำคัญ
    กิจกรรมที่จัดควรมีความสมดุล
    กิจกรรมที่จัดควรมีทั้งกิจกรรมที่ให้เด็กทำเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่
    กิจกรรมที่จัดควรเน้นสื่อของจริง
       ขอบข่าย
    การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่
    การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก
    การพัฒนาอารมณ์ จิตใจและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
    การพัฒนาสังคมนิสัย
    การพัฒนาความคิด
    การพัฒนาภาษา
บทที่3 วิธีการดำเนินการศึกษา
    ประชากร
        ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชาย-หญิง ที่มีอายุ5-6ปี ศึกษาอญุ่ในระดับปฐมวัย                   อนุบาล2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2553 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา22 (ใต้ร่มเย็น) จำนวน 40 คน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
      สื่อด้านเนื้อหามีคะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.24 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมเท่ากับ 0.64 อยู่ในระดับดี และมีผลการประเมินคุณภาพของชุดฝึกทักษะแบบใช่เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ4.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมเท่ากับ 0.63 อยู่ในระดับดี ซึ่งชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์มีคุณภาพสูงอยู่ในระดับดี
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล
       การประเมินคุณภาพของชุดฝึกทักษะแบบใช้เกมการศึกษาเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคุณภาพทางคณิตศาสตร์ด้านเนื้อหาและด้านเทคโนโลยีมีความง่ายในการใช้ในการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถใช้หรือเล่นเกมการศึกษาได้อย่างถูกต้องสะดวก

สรุปบทความ

บทความ
เรื่อง  การจับคู่และจับกลุ่่ม
      ทักษะการจับคู่และจับกลุ่ม เป็นทักษะขั้นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ซึ่งหมายถึงทักษะเบื่องต้นที่เด็กปฐมวัยใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งมีความจำเป็นที่ควรได้รับในการฝึกฝนเพื่อให้เกิดขึ้นสำหรับเด็กปฐมวัยในวัยนี้ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจับคู่ ทักษะการจัดกลุ่มหรือจัดประเภท ทักษะการเรียงลำดับ ทักษะการนับ ทักษะการรู้ค่ารู้จำนวน ทักษะการวัด และการบอกตำแหน่ง

บันทึกอนุทิน 
ครั้งที่3
วันพุธ ที่ 21 มกราคม 2558
เนื้อหา
      - แนวคิดเกี่ยวข้องกับพัฒนาทางสติปัญญา 
วิธีการสอน
       ตอบคำถามก่อนเรียนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
       เลขที่ 4-6 นำเสนองานวิจัย
       ร่วมท่องคำคล้องจอง
ทักษะที่ได้รับ  
        การใช้ความคิดที่เรียนมาใช้ตอบคำถามก่อนเรียน การดัดแปลงเพลงเพื่อการเรียนคณิตศาสตร์ที่สนุก ไม่เครียด เข้าใจง่าย
การประยุกต์ใช้
       นำวิธีการคำถาม การใช้คำที่รวบรัดกระชับเข้าใจความ และการนำไปใช้เพื่อการสอนค่าหรือตัวเลขที่เด็กเข้าใจง่าย
บรรยากาศในการเรียน
       สนุก ไม่เครียด มีการโต้ตอบคำถามกันอย่างมีเหตุมีผล มีการอธิบายความหมาย ความเข้าใจตามหัวข้อในเนื้อหาพัฒนาการทางสธิปัญญา
การประเมินผล
     ตนเอง :  สนุก เข้าใจง่าย ไม่เครียด ตื่นเต้นดี  ได้ใช้คำพูดที่ตรงและถูกขึ้น
     เพื่อน  :  มีการตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา เพราะได้ตอบคำถาม 
     อาจารย์  : สอนเข้าใจง่าย มีการอธิบาย ความหมาย ทำให้เข้าใจและจดจำได้ง่าย

วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2558


บันทึกอนุทินครั้งที่ 2
วันพุธที่14 มกราคม 2558
เนื้อหา

ความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์

ความหมายของคณิตศาสตร์
    - คณิตศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข หรือการคำนวณ 

คณิตศาสตร์มีความสำคัญอย่างไรบ้าง
     -ช่วยให้เด็กสามารถนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตต่อไปในวันข้างหน้า ช่วยให้เด็กมีความรู้พื้นฐานจะได้นำไปต่อยอดพัฒนาการในระดับการศึกษาที่สูงขน

คณิตศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร
     -ช่วยในการับ่ายซื้อของในแต่ละวัน ช่วยให้เราหาข้อมูลได้ง่ายขึ้นและเป็นที่ยอมรับและยึดถือเป็นหลักเกณฑ์ในการประเมินหาข้อยุติ

แนวคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
     -การใช่ตัวเลขในแต่ละวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

วิธีการสอน
       สอนแบบวัดความรู้จากตัวผู้เรียนก่อนแล้วค่อยอธิบายหรือขยายความเข้าใจ ต่อเติมในส่วนที่ไม่รู้และปรับเปลี่ยนความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง  และสอนโดยการแสดงความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ร่วมกันวิเคราะห์เนื้อหาของการเรียนแล้วสรุปเป็นความคิดที่ตรงกัน
บรรยากาศในห้องเรียน
       สอนแบบการแสดงความคิดเห็น การรับฟังของผู้อื่น และร่วมกันวิเคราะห์จากการวิเคราะห์ด้วยตนเอง แล้วนำมาปรับเปลี่ยนความคิดที่เหมาะสมร่วมกับเพื่อนในกลุ่ม ในห้องเรียน 
       
ครูผู้สอน
       สอนแบบเข้าใจง่าย  ไม่เคลียด อธิบายเนื้อหาได้ละเอียดทุกหัวข้อ

วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่1 วันพุธที่7 มกราคม 2558

บันทึกอนุทิน
วันพุธ ที่ 7 มกราคม 2558
เนื้อหา
        การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    การจัดประสบการณ์  คือการเล่นของเด็ก , ให้เด็กได้กระทำด้วยตัวเอง เป็นต้น 
    คณิตศาสตร์ คือ การนับเลข , รูปทรง , หลักการคิด เป็นต้น
    เด็กปฐมวัย คือ พฤกติกรรมของเด็ก , นิสัยของเด็ก , ช่วงอายุ  เป็นต้น
มาตรฐาน
     คือ เกณฑ์การวัด หรือการประเมิน
วิธีการสอน
     บรรยาย ชี้แนะ  และเน้นการตอบ เพื่อการสื่อหรืออธิบายความเข้าใจ
บรรยากาศ
     สนุก ไม่เครียด สอนแบบการอธิบายเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ครูผู้สอน 
     ใจดี สอนเข้าใจง่าย เรียบร้อย สอนเก่ง ไม่เครียด